หน้าที่ของสื่อในการสะท้อนสังคมด้านคุณธรรมและจริยธรรม: กรณีละครเหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีฃ่อง 3

พุฒิวงศ์ ศุภสุขเกษม

Abstract


           สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันที่สังคมต้องเร่งรีบแข่งขัน แย่งชิงความได้เปรียบ มีผลทำให้การสื่อสารเปลี่ยนแปลงไป พัฒนาการของข้อมูลข่าวสารที่มือยู่มากมายหลากหลาย ทำให้ผู้รับสารสามารถ เลือกรับข่าวสารได้ตรงกับความต้องการและความจำเป็น เครื่องมือการสื่อสารมีให้เลือกอย่างเพียงพอ รวมทั้งการพัฒนา รูปลักษณ์ภายนอก ฟังค์ชั่นการใช้งาน การนำเสนอโปรแกรมแอพลิเคชั่นใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย ของผู้ใช้'บริการ'โนลังคม ทั้งยังมีคุณภาพที่ถูกรสนิยมผู้ใช้เครื่องมือทางการสื่อสารเหล่านั้นอีกด้วย
           ในขณะที่การสื่อสารมวลซน ซึ่งต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของฝ่ายบริหารบ้านเมือง ยังคงถูกผูกขาดจากเจ้าของ สัมปทานเพียงไมกราย ที่มีจุดมุ่งหมายในการประกอบธุรกิจมากกว่าความเป็นสื่อมวลซนเพื่อสังคม ทั้งฝ่ายกำกับดูแล และผู้ถูกกำกับดูแลที่ผู้รับข่าวสารยังเห็นว่าบกพร่องทั้งด้านคุณธรรมและจริยธรรม การสื่อสารมวลซนจึงเหมือนตกอยู่ ในวังวนของผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม ที่ประซาซนอาจคาดหวังความรับผิดชอบและเสรีภาพ ทางการสื่อสารได้น้อยเต็มที
           การสื่อสารการละครเป็นสื่อมวลซนแขนงหนึ่งที่พยายามหาโอกาสเช้ามาทำหน้าที่รับผิดชอบ ในฐานะสื่อ สร้างสรรค์ ถ่ายทอดความไม่ถูกต้องในสังคมผ่านละคร ซึ่งสามารถทำได้ดี เนื่องจากสื่อละครเป็นสื่อที่เช้าถึงผู้รับข่าวสาร ได้ทุกรสสัมผัส และสอดคล้องกับแนวการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคม
           บทความฉบับนี้พยายามเชื่อมโยงทฤษฎีทางการสื่อสารกับความเป็นจริงทางการสื่อสาร ในสังคมของไทย ด้วยแนวคิดของนักวิซาการและสื่อมวลซนอาชีพ เพื่อให้เป็นบทความที่หลากหลายมุมมองอันจะส่งผลต่อพัฒนาการ การสื่อสารมวลซนในประเทศไทยต่อไปในภายภาคหน้า
คำสำคัญ : สื่อสารการละคร, การสะท้อนสังคม, จริยธรรม, คุณธรรม

           As current social, economic and political changes were based on hustle, competition, gaining competitive advantage resulted in mass communication must be needed to change. Diversity of information development assisted receivers to choose the desired and needed ones. There were sufficient communication tools, development on external design, function and new application programs in response to variety of service users in the society and qualities that met the user tastes.
           Mass communication under government controlled was monopolized by few monopolists whose objectives were more in business gains than communication for social responsibility. Information receivers perceived standard were not met on morality and ethics aspects for both controllers and monopolists. Mass communication provided benefits for only certain groups. People cannot expect much responsibility and freedom from this mass communication.
           “Drama” was one sector of mass communication attempted to take responsibility as creative media to reflect some social issues. Drama could do this since they were a good way of mass communication to all kinds of its receivers. It aligned well with people ways of life.
           This article attempted to link communication theories with reality in our society with academic concepts and mass media profession that tailored this article with broad perception that led to the improvement of mass communication in the future.
Keywords : Drama, Social Reflect, Morality, Ethics


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.