ต้นทุนและผลตอบแทนของเกษตรกรผู้ปลูกกระเพราและโหระพา : การเปรียบเทียบระหว่างการปลูกแบบปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและการปลูกแบบทั่วไป

ชัยยศ สัมฤทธิ์สกุล

Abstract


งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของเกษตรกรผู้ปลูกกระเพราและโหระพาระหว่างการปลูกแบบปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) และการปลูกแบบทั่วไป โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรในภาคตะวันตกของประเทศไทย จำนวนกลุ่มละ 33 คน ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรที่ปลูกกระเพราและโหระพาแบบปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) มีรายได้รวมเท่ากับ 827,073.08 บาท คิดเป็น 99,467.60 บาทต่อไร่ และคิดเป็น 18.52 บาทต่อกิโลกรัม ค่าใช่จ่ายรวมทั้งสิ้นเท่ากับ 870,640.55 บาท คิดเป็น 104,707.22 บาทต่อไร่ และคิดเป็น 19.49 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรที่ปลูกกระเพราและโหระพาแบบการปลูกแบบทั่วไป มีรายได้รวมเท่ากับ  282,260.67 บาท คิดเป็น 134,852.71 บาทต่อไร่ และคิดเป็น 16.72 บาทต่อกิโลกรัม ค่าใช่จ่ายรวมทั้งสิ้นเท่ากับ 326,495.40 บาท คิดเป็น 155,986.27 บาท  ต่อไร่ และคิดเป็น 19.34 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรที่ปลูกกระเพราและโหระพาแบบปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นลบ คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิของผลตอบแทนรวมเท่ากับ (79,833.47)  บาท คิดเป็นผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ (9,601.14) บาท ส่งผลให้การคำนวณอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) ได้ค่าเท่ากับ 0.95 และมีดัชนีความสามารถในการทำกำไร (PI) เท่ากับ (0.11) ผลตอบแทนจากการลงทุนภายในโครงการ (IRR) อยู่ที่ 4.99% และมีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) เท่ากับ 7 ปี 0 เดือน 11 วัน และเกษตรกรที่ปลูกกระเพราและโหระพาแบบทั่วไปพบว่า ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นลบ  คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิของผลตอบแทนรวมเท่ากับ (193,034.91)  บาท  คิดเป็นผลตอบแทนต่อไร่ เท่ากับ (92,224.41) บาท  มีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (BCR) เท่ากับ 0.86  ผลตอบแทนจากการลงทุนภายในโครงการ (IRR) อยู่ที่ (17.45%) และ มีดัชนีความสามารถในการทำกำไร (PI) เท่ากับ (0.60) มีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) เท่ากับ 18 ปี 0 เดือน 15 วัน

คำสำคัญ: ต้นทุน, ผลตอบแทน, มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี, การปลูกพืชแบบทั่วไป

The objectives of this research were to investigate and comparison costs and return of holy basil and sweet basil farmers between using Good Agricultural Practices and General Practices Data were collected from 33 farmers in each group in the west of Thailand. The results showed that GAP farmers reported total revenues of 827,073.08 baht, 99,467.60 baht per rai, and 18.52 baht per kilogram. The total costs were 870,640.55 baht, 104,707.22 baht per rai, and 19.49 baht per

kilogram. Non-GAP farmers reported total revenues of 282,260.67 bath, 134,852.71 baht per rai,

and 16.72 baht per kilogram. The total costs were 326,495.40 baht, 155,986.27 baht per rai, and 19.34 baht per kilogram. GAP farmers had a negative net present value of the total return equal

 to (79,833.47) baht and (9,601.14) per rai. The calculation of benefit cost ratio (BCR), profitability index (PI) and internal rate of return (IRR) were 0.95, (0.11) and 4.99% respectively while the payback period was 7 years, 0 months, 11 days. Non-GAP farmers had a negative net present value of the total return equal to (193,034.91) and (92,224.41) per rai. The calculation of benefit cost ratio (BCR), profitability index (PI) and internal rate of return (IRR) were 0.86, (0.60) and (0.60) respectively while the payback period (payback period) was 18 years, 0 months, 15 days.

Keyword : Cost, Return, Good Agricultural Practices, GAP, General Practices


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.