การพัฒนาบทเรียน e-Learning วิชาการตลาดบริการ

นวลปราง ขันเงิน

Abstract


           การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) รายวิชา การตลาดบริการ นำเสนอผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) รายวิชา การตลาด บริการที่สร้างขึ้นและเพื่อศึกษาความพิงพอใจชองนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) รายวิชา การตลาด บริการผ่านเว็บไซต์ http: www.bba.ubru.ac.th โดยมิเนื้อหาการเรียนรู้แบ่งเป็น 10 บท ได้แก่บทที่ 1ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการตลาดบริการ บทที่ 2 การจัดแบ่งประเภทธุรกิจบริการ บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ บทที่ 4 ระบบการตลาดบริการ บทที่ 5 กลยุทธ์การตลาดและส่วนประสมการตลาดบริการ บทที่ 6 กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์บริการ บทที่ 7 กลยุทธ์ด้านราคา บทที่ 8 กลยุทธ์ด้านการช่องทางการจัดจำหน่าย บทที่ 9 กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด และบทที่ 10 กลยุทธ์พนักงานบริการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพและกระบวนการบริการนอกจากนี้ยังมิแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน e-Learning
           หลังจากการพัฒนาบทเรียน e-Learning วิชาการตลาดบริการแล้ว ได้มิการทดสอบการใช้งานจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็น นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จำนวน 50 คน ได้มาโดยการลุ่มตัวอย่างแบบง่าย ผลการทดสอบพบว่า นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยบทเรียน e-Learning วิชาการตลาดบริการ มิประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.1/83.7 และนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยบทเรียน e-Learning วิชาการตลาดบริการ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมินัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมิความพิงพอใจต่อการเรียนด้วย บทเรียน e-Learning ในระดับมาก
คำสำคัญ : การพัฒนา, บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์, วิชาการตลาดบริการ

           This research was aimed to develop e-Learning lesson of Service Marketing subject 1 which presented via computer networks in order to evaluate its efficiency and to study the students, satisfaction towards this e-Learning lesson via the website “http: www.bba.ubru.ac.th” .The lesson composes of 10 chapters as followed; chapter 1 the fundamental knowledge of Service Marketing, chapter 2 classification and category of service business, chapter 3 Behavior of customer in the service marketing, chapter 4 The service marketing, chapter 5 marketing strategy and service marketing mix, chapter 6 service product strategy, chapter 7 pricing strategy, chapter 8 channel of distribution strategy, chapter 9 Marketing promotion strategy, chapter 10 Service province strategy, physical environment, and service process. Apart of it, there were the pre-test and post-test of e-Learning lesson.
           After the development of Service Marketing subject e-Learning, there was an application test from the sample group of 50 marketing students in Rajabhat Ubonratchatani University using simple random sampling. The results were revealed that students who passed the process of Service Marketing subject e-Learning showed the efficiency level equal to 81.1/83.7. Moreover, these students showed a higher achievement level at post-test over pre-test at statistical significance level at 0.05. The satisfaction level of samples on e-Learning was at a high level.
Keywords : Development, e-Learning, Service Marketing


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.